บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
( Introduction to Information and Communication Technology )
เทคโนโลยี (Technology
) หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
สารสนเทศ (Information ) หมายถึง ความรู้หรือข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ
ที่ได้รับการประมวลแล้วและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
การสื่อสาร ( Communication) หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสาร เกิดขึ้นโดยกาถ่ายทอดสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ส่งสารผ่านสื่อหรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารโดยมี วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
การสื่อสาร ( Communication) หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสาร เกิดขึ้นโดยกาถ่ายทอดสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ส่งสารผ่านสื่อหรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารโดยมี วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร
นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล
การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่
เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ ระบบการสื่อสารต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ
ทั้งมีสายและไร้สาย
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับงานด้านต่าง
ๆ ในหลายด้านอาทิ เช่น
ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้านความบันเทิง
ด้านธุรกิจ ด้านสังคม ด้านขนส่ง ด้านการทหาร ด้านการสื่อสาร เป็นต้น
ยุคอิเล็กทรอนิกส์ไปสู่ยุคโมบิลิตี้
ยุคอิเล็กโทรนิกส์ พื้นฐานจะใช้งานอยู่ที่คอมพิวเตอร์เป็นหลัก
เมื่อเทคโนโลยีมีการพัฒนาขึ้น มีการพัฒนาระบบเรียกว่า 3 G ซึ่งจะทำให้ความเร็วในการรับส่งข้อมูลของโทรศัพท์ มือถือใกล้เคียงกับ
คอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดอุปกรณ์พกพาขึ้นมาใหม่ เช่น สมาร์ทโฟน หรือ แท็ปเลต Pc เป็นต้น
บทที่ 2
ระบบคอมพิวเตอร์
( Computer System )
ระบบคอมพิวเตอร์
( Computer System )
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มา จากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึงการนับหรือการคำนวณพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทำหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำหรับ แก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์”
คอมพิวเตอร์จึง เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้าน การคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูลทั้งตัวเลข และตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไปนอกจากนี้ยังสามารถจัดการกับ สัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆอีก มากอาทิ เช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้
ประเภทของคอมพิวเตอร์
จาก ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มี การพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมากทำให้ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เลือกใช้มากมายหลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้จำแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูลและ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (SuperComputer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการ การประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง เช่นงานวิจัยขีปนาวุธงานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรือ งานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
หมาย ถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำและความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและ คำสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทำงานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal)จำนวนมากได้สามารถทำงานได้พร้อมกันหลายงาน (Multitasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (MultiUser)ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ใน ธุรกิจขนาดใหญ่มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาทตัวอย่างของ เครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไป ยังตู้ATMและสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
มินิคอมพิวเตอร์ (MiniComputer)
หมาย ถึง ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่ง มีราคาแพงผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูก ลง เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์โดยมีลักษณะพิเศษในการทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่ มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่าน เขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (MicroComputer)
หมาย ถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจำและความเร็วในการประมวล ผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( Personal Computer : PC) ปัจจุบันไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือ มากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อนนอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มากทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้านตลอดจนตาม โรงเรียน สถานศึกษาและบ้านเรือนบริษัทที่ ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่ายจนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
จำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทำงาน (Desktop Computer)
2. แบบเคลื่อนย้ายได้ ( Portable Computer ) สามารถพกพาติดตัวอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ในความเป็นจริงแล้วตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆกันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบ คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้นจำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการ มาทำงานประสานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Software)
บุคลากร
ข้อมูลฃ
บทที่ 3 ซอฟแวร์ระบบ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือ Operating Software : OS)
หมายถึงโปรแกรมที่ทำหน้าที่ประสานการทำงาน ติดต่อการทำงาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่ำหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้ เข้าใจ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งได้ 4 ชนิด ดังนี้
1.1 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการ ปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X
1.2 ยูทิลิตี้ (Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องทำงานง่ายขึ้นเร็วขึ้น และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส , โปรแกรม Defrag เพื่อจัดเรียงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ใหม่ ทำให้การอ่านข้อมูลเร็วขึ้น , โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (WinZip-WinRAR)เพื่อทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง ,โปรแกรมการสำรองข้อมูล(Backup Data)
1.3 ดีไวซ์ไดเวอร์ (Device Driver หรือ Driver) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในส่วนการรับเข้าและการส่งออก ของแต่ละอุปกรณ์ เช่น เมื่อเราซื้อกล้องวีดีโอมาใหม่และต้องการนำเอาวีดีโอที่ถ่ายเสร็จ นำไปตัดต่อที่คอมพิวเตอร์ ก็ต้องติดตั้งไดเวอร์ หรือโปรแกรมที่ติดมากับกล้อง ทำการติดตั้งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักและ สามารถรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกได้
โดยปกติโปรแกรม windows ที่เรามีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีไดเวอร์ติดตั้งมาให้แล้วโดยเราไม่ต้อง ทำการติดตั้งไดเวอร์เอง เช่น ไดเวอร์สำหรับเมาส์ ,ไดเวอร์คีย์บอร์ด, ไดเวอร์สำหรับการใช้ USB Port , ไดเวอร์เครื่องพิมพ์ แต่ถ้าอุปกรณ์ใดไม่สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ก็ต้องหาได เวอร์มาติดตั้งเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ซึ่งต้องเป็นไดเวอร์ที่พัฒนามาของแต่ละบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์
1.4 ตัวแปลภาษา (Language Translator) คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลภาษาระดับต่ำหรือระดับสูงเพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทำอะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะภาษาระดับต่ำ (Assenbly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านเข้าใจ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะเข้าใจเฉพาะตัวเลข 0 กับ ตัวเลข 1 เท่านั้น
คอมพิวเตอร์มา จากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึงการนับหรือการคำนวณพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทำหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำหรับ แก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์”
คอมพิวเตอร์จึง เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้าน การคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูลทั้งตัวเลข และตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไปนอกจากนี้ยังสามารถจัดการกับ สัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆอีก มากอาทิ เช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้
ประเภทของคอมพิวเตอร์
จาก ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มี การพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมากทำให้ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เลือกใช้มากมายหลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้จำแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูลและ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (SuperComputer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการ การประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง เช่นงานวิจัยขีปนาวุธงานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรือ งานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
หมาย ถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำและความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและ คำสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทำงานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal)จำนวนมากได้สามารถทำงานได้พร้อมกันหลายงาน (Multitasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (MultiUser)ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ใน ธุรกิจขนาดใหญ่มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาทตัวอย่างของ เครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไป ยังตู้ATMและสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
มินิคอมพิวเตอร์ (MiniComputer)
หมาย ถึง ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่ง มีราคาแพงผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูก ลง เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์โดยมีลักษณะพิเศษในการทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่ มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่าน เขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (MicroComputer)
หมาย ถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจำและความเร็วในการประมวล ผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( Personal Computer : PC) ปัจจุบันไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือ มากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อนนอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มากทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้านตลอดจนตาม โรงเรียน สถานศึกษาและบ้านเรือนบริษัทที่ ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่ายจนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
จำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทำงาน (Desktop Computer)
2. แบบเคลื่อนย้ายได้ ( Portable Computer ) สามารถพกพาติดตัวอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ในความเป็นจริงแล้วตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆกันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบ คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้นจำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการ มาทำงานประสานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Software)
บุคลากร
ข้อมูลฃ
บทที่ 3 ซอฟแวร์ระบบ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือ Operating Software : OS)
หมายถึงโปรแกรมที่ทำหน้าที่ประสานการทำงาน ติดต่อการทำงาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษาเครื่อง การแปลภาษาระดับต่ำหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้ เข้าใจ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งได้ 4 ชนิด ดังนี้
1.1 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการ ปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X
1.2 ยูทิลิตี้ (Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องทำงานง่ายขึ้นเร็วขึ้น และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส , โปรแกรม Defrag เพื่อจัดเรียงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ใหม่ ทำให้การอ่านข้อมูลเร็วขึ้น , โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (WinZip-WinRAR)เพื่อทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง ,โปรแกรมการสำรองข้อมูล(Backup Data)
1.3 ดีไวซ์ไดเวอร์ (Device Driver หรือ Driver) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในส่วนการรับเข้าและการส่งออก ของแต่ละอุปกรณ์ เช่น เมื่อเราซื้อกล้องวีดีโอมาใหม่และต้องการนำเอาวีดีโอที่ถ่ายเสร็จ นำไปตัดต่อที่คอมพิวเตอร์ ก็ต้องติดตั้งไดเวอร์ หรือโปรแกรมที่ติดมากับกล้อง ทำการติดตั้งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักและ สามารถรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกได้
โดยปกติโปรแกรม windows ที่เรามีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีไดเวอร์ติดตั้งมาให้แล้วโดยเราไม่ต้อง ทำการติดตั้งไดเวอร์เอง เช่น ไดเวอร์สำหรับเมาส์ ,ไดเวอร์คีย์บอร์ด, ไดเวอร์สำหรับการใช้ USB Port , ไดเวอร์เครื่องพิมพ์ แต่ถ้าอุปกรณ์ใดไม่สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ก็ต้องหาได เวอร์มาติดตั้งเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ซึ่งต้องเป็นไดเวอร์ที่พัฒนามาของแต่ละบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์
1.4 ตัวแปลภาษา (Language Translator) คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลภาษาระดับต่ำหรือระดับสูงเพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทำอะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะภาษาระดับต่ำ (Assenbly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านเข้าใจ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะเข้าใจเฉพาะตัวเลข 0 กับ ตัวเลข 1 เท่านั้น
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบ ( SyStem Software )
ซอฟต์แวร์ คือ
ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
โดยทั่วไปซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แบ่งตามการได้มาใช้งานของผู้ใช้ และแบ่งตามลักษณะการทำงาน
ซอฟแวร์ที่แบ่งตามการได้มาใช้งานของผู้ใช้ แบ่งได้อีก 2 ประเภทคือ
1. ซอฟแวร์ที่มีลิขสิทธิ์
2. โอเพ่นซอร์ส ( OSS )
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซึ่งทำงานใกล้ชิดกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากที่สุด
ระบบปฏิบัติการสำหรับคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟท์วินโดวส์ (Microsoft Windows)
ลีนุกส์ (Linux)
ยูนิกซ์ ( Unix )
แมคโอเอส (Mac OS) หรือ โอเอสเอ็กซ์ ( OSX )
ระบบปฏิบัติการสำหรับพกพา
แอนดรอยด์ ( Android )
ไอโอเอส (IOS)
ซิมเบียน ( Symbian )
บทที่ 4 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานด้าน
ต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งถ้าโปรแกรมพัฒนาขึ้น
เพื่อความต้องการเฉพาะขององค์การใดองค์การเหนึ่ง
จะเรียกซอฟต์แวร์ประเภทนี้ว่า ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (custom program หรือ
tailor-made software)
ซึ่งข้อดีคือโปรแกรมสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามความประสงค์
ของหน่วยงาน แต่ข้อเสียคือซอฟต์เวร์ประเภทนี้จะใช้เวลาในการพัฒนานาน
และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง
ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สำหรับงานทั่ว ๆ ไปที่เรียก general-purpose software หรือบางครั้งเรียกว่า โปรแกรมสำเร็จรูป (package software) เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (commercial software) ที่ผู้ใช้สามารถซื้อไปประยุกต์ใช้งานได้ทันที
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่นิยมใช้สำหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
โปรแกรมประมวลผลคำ (word processor)
เป็น โปรแกรมด้านการจัดทำเอกสาร นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า word ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อการผลิตเอกสาร ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รายงานจดหมาย บันทึกข้อความ หนังสือ และ สิ่งพิมพ์ทั่วไป โปรแกรมประมวลผลคำในปัจจุบันมีความสามารถในการใส่รูปภาพ ตาราง อักษรศิลป์ต่างๆ รวมทั้งยังมีเครื่องมือช่วยในการทำงานได้อย่างสะดวก เช่น ระบบการตรวจตัวสะกดและไวยากรณ์ เป็นต้น โปรแกรมประมวลผลคำที่นิยมใช้ในปัจจุบันนี้ ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Word, WordPerfect และ Lotus Word Pro เป็นต้น
โปรแกรมด้านการคำนวณ (Spreadsheet)
เป็น โปรแกรมที่มีลักษณะตารางทำการ (Worksheet) เหมาะสำหรับงานการคำนวณตัวเลยในรูปแบบต่าง ๆ ตารางทำการประกอบด้วย ช่องตารางหรือเซลล์ (Cell) ที่เรียงเป็นแถวและคอลัมน์ สามารถป้อข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข และสูตรการคำนวณได้ นอกจากนี้ยังสามารถ ใส่รูปภาพและจัดทำกราฟสถิติได้อย่างสวยงาม ลักษณะงานที่ใช้ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เช่น การทำบัญชีงบกำไร – ขาดทุน รายงานการขาย การบันทึกคะแนนนักศึกษา ตัวอย่างซอฟต์แวร์สำเร็จรูปด้านการคำนวณ ได้ Microsoft Excel , Lotus 1-2-3 และ Quattro Pro เป็นต้น
โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล (presentation)
เป็น โปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยงานด้านการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจเป็น การนำเสนอข้อมูลให้กับผู้เข้าฟังการประชุม สัมมนา หรือการบรรยาย ในการเรียนการสอน โดยทั่วไปนิยมที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปพ่วงต่อกับเครื่องฉายวิดีทัศน์ (LCD projector) หรือจอทีวีขนาดใหญ่ เพื่อนำเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟังที่มีจำนวนมากได้ด้วย
โปรแกรมนำเสนอข้อมูล จะมีต้นแบบสไลด์ (Template) ให้เลือกใช้ได้หลายรูปแบบ มีแบบตัวอักษรและรูปภาพประกอบต่าง ๆ จำนวนมาก สามารถใส่เทคนิคและลูกเล่นต่าง ๆ โดยเฉพาะภาพเคลื่อนไหว แผนผังองค์กร และใช้สื่อประสม เช่น วิดีโอและเสียงประกอบได้
โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft PowerPoint ของบริษัทไมโครซอฟต์ และโปรแกรม Freelance Graphics ของบริษัท Lotus Development เป็นต้น
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database)
เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างข้อมูล เพื่อจัดเก็บและจัดการข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่ม แก้ไข หรือลบข้อมูล ตลอดจนการค้นหาข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด นอกจากนี้โปรแกรมยังสามารถพิมพ์รายงานได้อย่างสวยงามอีกด้วย
ผู้ใช้ โปรแกรมยังสามารถประยุกต์โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลกับงานด้านต่าง ๆ เช่น การจัดเก็บข้อมูลลูกค้า สินค้าคงคลัง ข้อมูลบุคลากร เป็นต้น
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft Access และ FoxPro เป็นต้น
โปรแกรมด้านงานพิมพ์ (desktop publishing)
เป็น โปรแกรมที่ใช้จัดหน้าสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ์ การออกแบบแผ่นพับ (Brochure) โปรแกรมสามารถนำรูปภาพเข้ามาเป็นส่วนประกอบของงานได้ด้วย โปรแกรมที่ใช้สำหรับงานพับงานพิมพ์ในปัจจุบัน เช่น Adobe PageMaker เป็นต้น
โปรแกรมกราฟิก (graphics)
เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งงานกราฟิกต่าง ๆ ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทคือ
– โปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพ
เป็น โปรแกรมช่วยในการวาดภาพและตกแต่งภาพให้สวยงาม โดยใช้เครื่องมือที่มีลักษณะเหมือนดินสอ แปรง พู่กัน จานสี และอุปกรณ์ตกแต่ง ภาพอื่น ๆ ที่เลียนแบบของจริง นอกจากนี้ยังสามารถนำภาพที่ได้จากการสแกนภาพด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (scanner) มาเชื่อมต่อในโปรแกรม เพื่อนำมาตกแต่งภาพได้
โปรแกรมด้านกราฟิกที่ใช้ตกแต่งภาพที่นิยมใช้ ได้แก่ Adobe PhotoShop, Microsoft Paint, CorelDraw เป็นต้น
– โปรแกรมช่วยออกแบบ
เป็น โปรแกรมที่ใช้ช่วยในการออกแบบงานด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม โปรแกรมช่วยออกแบบที่นิยมใช้ เช่น AutoCAD ซึ่งสามารถใช้ออกแบบงานต่าง ๆ เช่น บ้าน รถยนต์ ระบบไฟฟ้า แผงวงจร นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมออกแบบขนาดเล็กกว่า เช่น Generic Cadd และ Design Your Own Home เป็นต้น
โปรแกรมค้นหาข้อมูล (resource discovering software)
โปรแกรม ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างโปรแกรมด้านนี้ เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW) อาร์ชี (archie) โกเฟอร์ (gopher) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันเวิลด์ไวด์เว็บถือเป็นโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่ทุกคนควรรู้จัก ข้อมูลข่าวสารบนเวิลด์ไวด์เว็บเป็นรูปแบบสื่อประสม (multimedia) คือ สามารถดูภาพ อ่านข้อความ ฟังเสียง และดูวิดีโอภายในเว็บไซต์ (Web site) ของแหล่งข้อมูลที่เข้าเยี่ยมชมได้
นอกจากนี้บนเวิลด์ไวด์เว็บยังมี เครื่องมือที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เครื่องมือนี้เรียกว่าเครื่องค้นหา (search engine) ซึ่งบนเว็บไซต์ที่เก็บที่อยู่ของเว็บไซต์ต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตและเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เมื่อต้องการค้นหาข้อมูลอะไรก็ไปยังเว็บไซต์ ของเครื่องค้นหาเหล่านี้ ตัวอย่างเว็บไซต์เครื่องค้นหาได้แก่ http://www.yahoo.com,http://www.infoseek.com, http://altavista.com, http://thaiseek.com เป็นต้น
โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร (communication software)
เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก รวดเร็ว และช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายได้ด้วย การสื่อสารอาจอยู่ในรูปของไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับได้ในทันที สามารถใช้แทนการส่งข้อความ โทรศัพท์ หรือแฟกซ์ เช่น บางองค์การธุรกิจใช้ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ในการรับ – ส่งใบซื้อสินค้าระหว่างประเทศ ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายลงไปได้มาก
โปรแกรมในกลุ่มด้านการสื่อสาร ได้แก่
– โปรแกรมที่ใช้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข่าวสารผ่านกระดานข่าวมนนิวส์กรุ๊ป (newsgroup)
– โปรแกรมที่ช่วยในการโอนย้ายโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในเครือจ่าย อินเทอร์มาใช้งานที่เครื่องของตนเองได้ด้วย เช่น FTP (file transfer protocol)
– โปรแกรมที่ใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกัน เช่น ICQ,miRC,MS Chat เป็นต้น เป็นการสนทนากันโดยผ่านแป้นพิมพ์หรือสื่อประสมอื่น ๆ โดยสามารถโต้ตอบกันแบบคำต่อคำได้แบบทันทีด้วย ซึ่งปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility)
เป็น โปรแกรมที่เรียกใช้งานเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดูแลรักษาความปลอดภัยและเสถียรภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมสำหรับสำรองข้อมูลที่สำคัญในฮาร์ดดิสก์ (backup) โปรแกรมตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ในฮาร์ดดิสก์ โปรแกรมที่ช่วยในการจัดระเบียบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ เพื่อสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โปรแกรมตรวจสอบไวรัส โปรแกรมบีบอัดข้อมูล เพื่อเพิ่มเนื้อที่ใช้งานในดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ให้มากขึ้น หรือโปรแกรมบีบอัดข้อมูลที่ต้องขยายก่อนจึงเรียกใช้งานได้ เช่น WinZip เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมอรรถประโยชน์เหล่านี้หลายโปรแกรมจะให้มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows แล้ว
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
บทบาทและการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การ ติดต่อสื่อสารเป็นการพูดคุยหรือส่งข่าวกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้นมีการพัฒนาอุปการณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับ ใช้ในการสื่อสาร ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรสาร
สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่าระบบเครือข่าย (network) มีการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลำดับ จากในอดีตการใช้งานคอมพิวเตอร์จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่เช่น เมนเฟรม การใช้งานจะมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) หลายเครื่อง ซึ่งถือว่าเป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินัลในยุคแรก
ต่อ มามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์หรือซีพี ซึ่งมีขนาดความสามารถในด้านความเร็วการทำงานสูงขึ้น และมีราคาต่ำลงมากเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทำให้การใช้งานที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น และมีความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน นอกเหนือจากการเชื่อมต่อเทอร์มินัลเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ดังเช่นผ่านมา และได้มีการกำหนดฐานกลางที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มาจากผู้ผลิต ต่างกัน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ เกิดการใช้งานระบบเครือข่ายที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน เช่น การโอนถ่ายย้ายข้อมูลระหว่างกัน หรือการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทำให้เกิดความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งานเพิ่มขึ้น
ลักษณะของเครือข่ายอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ เช่น ระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจรเดียวกัน ไปจนถึงระบบที่ทำงานร่วมกันในห้องทำงานในอาคาร ระหว่างอาคาร ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ
ปัจจุบันมีการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการคำนวณและเก็บข้อมูล รวมถึงการสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างระหว่างคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA) เป็นระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และระบบเครือข่ายช่วยในงานที่เกี่ยวกับเอกสาร การโอนย้ายแลกเปลี่ยนไฟล์ การควบคุมเอกสารและส่งเอกสารไปยังหน่วยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการส่งอีเมล ผู้ใช้งานอาจอยู่-ภายในอาคารเดียวกันหรืออยู่คนละเมืองก็ได้ การส่งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทที่ สามารถเชื่อมต่อและทำงานร่วมกัน โดยผ่านสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งผู้เรียนจะได้ศึกษาต่อไป นอกจากนี้ยังมีการกระจายฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ ไว้ผ่านระบบเครือข่าย เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัย เศรษฐกิจ และสินค้าต่างๆ ในสถานศึกษาอาจจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับหนังสือและตำราวิชาการ หากผู้ใช้ต้องการข้อมูลใดก็สามารถติดต่อผ่านเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์มายังศูนย์บริการข้อมูลนั้น ทำให้การได้รับข้อมูลเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว
ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้สำหรับงานทั่ว ๆ ไปที่เรียก general-purpose software หรือบางครั้งเรียกว่า โปรแกรมสำเร็จรูป (package software) เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (commercial software) ที่ผู้ใช้สามารถซื้อไปประยุกต์ใช้งานได้ทันที
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่นิยมใช้สำหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
โปรแกรมประมวลผลคำ (word processor)
เป็น โปรแกรมด้านการจัดทำเอกสาร นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า word ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อการผลิตเอกสาร ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รายงานจดหมาย บันทึกข้อความ หนังสือ และ สิ่งพิมพ์ทั่วไป โปรแกรมประมวลผลคำในปัจจุบันมีความสามารถในการใส่รูปภาพ ตาราง อักษรศิลป์ต่างๆ รวมทั้งยังมีเครื่องมือช่วยในการทำงานได้อย่างสะดวก เช่น ระบบการตรวจตัวสะกดและไวยากรณ์ เป็นต้น โปรแกรมประมวลผลคำที่นิยมใช้ในปัจจุบันนี้ ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Word, WordPerfect และ Lotus Word Pro เป็นต้น
โปรแกรมด้านการคำนวณ (Spreadsheet)
เป็น โปรแกรมที่มีลักษณะตารางทำการ (Worksheet) เหมาะสำหรับงานการคำนวณตัวเลยในรูปแบบต่าง ๆ ตารางทำการประกอบด้วย ช่องตารางหรือเซลล์ (Cell) ที่เรียงเป็นแถวและคอลัมน์ สามารถป้อข้อมูลตัวอักษร ตัวเลข และสูตรการคำนวณได้ นอกจากนี้ยังสามารถ ใส่รูปภาพและจัดทำกราฟสถิติได้อย่างสวยงาม ลักษณะงานที่ใช้ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เช่น การทำบัญชีงบกำไร – ขาดทุน รายงานการขาย การบันทึกคะแนนนักศึกษา ตัวอย่างซอฟต์แวร์สำเร็จรูปด้านการคำนวณ ได้ Microsoft Excel , Lotus 1-2-3 และ Quattro Pro เป็นต้น
โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล (presentation)
เป็น โปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยงานด้านการนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจเป็น การนำเสนอข้อมูลให้กับผู้เข้าฟังการประชุม สัมมนา หรือการบรรยาย ในการเรียนการสอน โดยทั่วไปนิยมที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปพ่วงต่อกับเครื่องฉายวิดีทัศน์ (LCD projector) หรือจอทีวีขนาดใหญ่ เพื่อนำเสนอข้อมูลให้กับผู้ฟังที่มีจำนวนมากได้ด้วย
โปรแกรมนำเสนอข้อมูล จะมีต้นแบบสไลด์ (Template) ให้เลือกใช้ได้หลายรูปแบบ มีแบบตัวอักษรและรูปภาพประกอบต่าง ๆ จำนวนมาก สามารถใส่เทคนิคและลูกเล่นต่าง ๆ โดยเฉพาะภาพเคลื่อนไหว แผนผังองค์กร และใช้สื่อประสม เช่น วิดีโอและเสียงประกอบได้
โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft PowerPoint ของบริษัทไมโครซอฟต์ และโปรแกรม Freelance Graphics ของบริษัท Lotus Development เป็นต้น
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database)
เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างข้อมูล เพื่อจัดเก็บและจัดการข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่ม แก้ไข หรือลบข้อมูล ตลอดจนการค้นหาข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด นอกจากนี้โปรแกรมยังสามารถพิมพ์รายงานได้อย่างสวยงามอีกด้วย
ผู้ใช้ โปรแกรมยังสามารถประยุกต์โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลกับงานด้านต่าง ๆ เช่น การจัดเก็บข้อมูลลูกค้า สินค้าคงคลัง ข้อมูลบุคลากร เป็นต้น
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft Access และ FoxPro เป็นต้น
โปรแกรมด้านงานพิมพ์ (desktop publishing)
เป็น โปรแกรมที่ใช้จัดหน้าสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ์ การออกแบบแผ่นพับ (Brochure) โปรแกรมสามารถนำรูปภาพเข้ามาเป็นส่วนประกอบของงานได้ด้วย โปรแกรมที่ใช้สำหรับงานพับงานพิมพ์ในปัจจุบัน เช่น Adobe PageMaker เป็นต้น
โปรแกรมกราฟิก (graphics)
เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งงานกราฟิกต่าง ๆ ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทคือ
– โปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพ
เป็น โปรแกรมช่วยในการวาดภาพและตกแต่งภาพให้สวยงาม โดยใช้เครื่องมือที่มีลักษณะเหมือนดินสอ แปรง พู่กัน จานสี และอุปกรณ์ตกแต่ง ภาพอื่น ๆ ที่เลียนแบบของจริง นอกจากนี้ยังสามารถนำภาพที่ได้จากการสแกนภาพด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (scanner) มาเชื่อมต่อในโปรแกรม เพื่อนำมาตกแต่งภาพได้
โปรแกรมด้านกราฟิกที่ใช้ตกแต่งภาพที่นิยมใช้ ได้แก่ Adobe PhotoShop, Microsoft Paint, CorelDraw เป็นต้น
– โปรแกรมช่วยออกแบบ
เป็น โปรแกรมที่ใช้ช่วยในการออกแบบงานด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม โปรแกรมช่วยออกแบบที่นิยมใช้ เช่น AutoCAD ซึ่งสามารถใช้ออกแบบงานต่าง ๆ เช่น บ้าน รถยนต์ ระบบไฟฟ้า แผงวงจร นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมออกแบบขนาดเล็กกว่า เช่น Generic Cadd และ Design Your Own Home เป็นต้น
โปรแกรมค้นหาข้อมูล (resource discovering software)
โปรแกรม ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างโปรแกรมด้านนี้ เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW) อาร์ชี (archie) โกเฟอร์ (gopher) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันเวิลด์ไวด์เว็บถือเป็นโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่ทุกคนควรรู้จัก ข้อมูลข่าวสารบนเวิลด์ไวด์เว็บเป็นรูปแบบสื่อประสม (multimedia) คือ สามารถดูภาพ อ่านข้อความ ฟังเสียง และดูวิดีโอภายในเว็บไซต์ (Web site) ของแหล่งข้อมูลที่เข้าเยี่ยมชมได้
นอกจากนี้บนเวิลด์ไวด์เว็บยังมี เครื่องมือที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เครื่องมือนี้เรียกว่าเครื่องค้นหา (search engine) ซึ่งบนเว็บไซต์ที่เก็บที่อยู่ของเว็บไซต์ต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตและเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เมื่อต้องการค้นหาข้อมูลอะไรก็ไปยังเว็บไซต์ ของเครื่องค้นหาเหล่านี้ ตัวอย่างเว็บไซต์เครื่องค้นหาได้แก่ http://www.yahoo.com,http://www.infoseek.com, http://altavista.com, http://thaiseek.com เป็นต้น
โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร (communication software)
เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก รวดเร็ว และช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายได้ด้วย การสื่อสารอาจอยู่ในรูปของไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับได้ในทันที สามารถใช้แทนการส่งข้อความ โทรศัพท์ หรือแฟกซ์ เช่น บางองค์การธุรกิจใช้ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ในการรับ – ส่งใบซื้อสินค้าระหว่างประเทศ ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายลงไปได้มาก
โปรแกรมในกลุ่มด้านการสื่อสาร ได้แก่
– โปรแกรมที่ใช้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข่าวสารผ่านกระดานข่าวมนนิวส์กรุ๊ป (newsgroup)
– โปรแกรมที่ช่วยในการโอนย้ายโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในเครือจ่าย อินเทอร์มาใช้งานที่เครื่องของตนเองได้ด้วย เช่น FTP (file transfer protocol)
– โปรแกรมที่ใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกัน เช่น ICQ,miRC,MS Chat เป็นต้น เป็นการสนทนากันโดยผ่านแป้นพิมพ์หรือสื่อประสมอื่น ๆ โดยสามารถโต้ตอบกันแบบคำต่อคำได้แบบทันทีด้วย ซึ่งปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility)
เป็น โปรแกรมที่เรียกใช้งานเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดูแลรักษาความปลอดภัยและเสถียรภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมสำหรับสำรองข้อมูลที่สำคัญในฮาร์ดดิสก์ (backup) โปรแกรมตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ในฮาร์ดดิสก์ โปรแกรมที่ช่วยในการจัดระเบียบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ เพื่อสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โปรแกรมตรวจสอบไวรัส โปรแกรมบีบอัดข้อมูล เพื่อเพิ่มเนื้อที่ใช้งานในดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ให้มากขึ้น หรือโปรแกรมบีบอัดข้อมูลที่ต้องขยายก่อนจึงเรียกใช้งานได้ เช่น WinZip เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมอรรถประโยชน์เหล่านี้หลายโปรแกรมจะให้มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows แล้ว
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
บทบาทและการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การ ติดต่อสื่อสารเป็นการพูดคุยหรือส่งข่าวกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้นมีการพัฒนาอุปการณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับ ใช้ในการสื่อสาร ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรสาร
สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่าระบบเครือข่าย (network) มีการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลำดับ จากในอดีตการใช้งานคอมพิวเตอร์จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่เช่น เมนเฟรม การใช้งานจะมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) หลายเครื่อง ซึ่งถือว่าเป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินัลในยุคแรก
ต่อ มามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์หรือซีพี ซึ่งมีขนาดความสามารถในด้านความเร็วการทำงานสูงขึ้น และมีราคาต่ำลงมากเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทำให้การใช้งานที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น และมีความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน นอกเหนือจากการเชื่อมต่อเทอร์มินัลเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ดังเช่นผ่านมา และได้มีการกำหนดฐานกลางที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มาจากผู้ผลิต ต่างกัน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ เกิดการใช้งานระบบเครือข่ายที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน เช่น การโอนถ่ายย้ายข้อมูลระหว่างกัน หรือการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทำให้เกิดความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งานเพิ่มขึ้น
ลักษณะของเครือข่ายอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ เช่น ระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจรเดียวกัน ไปจนถึงระบบที่ทำงานร่วมกันในห้องทำงานในอาคาร ระหว่างอาคาร ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ
ปัจจุบันมีการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการคำนวณและเก็บข้อมูล รวมถึงการสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างระหว่างคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA) เป็นระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และระบบเครือข่ายช่วยในงานที่เกี่ยวกับเอกสาร การโอนย้ายแลกเปลี่ยนไฟล์ การควบคุมเอกสารและส่งเอกสารไปยังหน่วยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการส่งอีเมล ผู้ใช้งานอาจอยู่-ภายในอาคารเดียวกันหรืออยู่คนละเมืองก็ได้ การส่งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทที่ สามารถเชื่อมต่อและทำงานร่วมกัน โดยผ่านสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูล ซึ่งผู้เรียนจะได้ศึกษาต่อไป นอกจากนี้ยังมีการกระจายฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ ไว้ผ่านระบบเครือข่าย เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัย เศรษฐกิจ และสินค้าต่างๆ ในสถานศึกษาอาจจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับหนังสือและตำราวิชาการ หากผู้ใช้ต้องการข้อมูลใดก็สามารถติดต่อผ่านเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์มายังศูนย์บริการข้อมูลนั้น ทำให้การได้รับข้อมูลเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว
(Data Communication and Computer Network )
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสมโดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปสัญญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากนั้นถึงส่งไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสมโดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปสัญญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากนั้นถึงส่งไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ปลายทาง
องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสาร มี อยู่ 5 อย่างได้แก่
1. ผู้ส่ง
เป็นสิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ
ซึ่งอาจเป็น
บุคคลหรืออุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
โทรศัพท์
เป็นต้น
2. ผู้รับ เป็นสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งส่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น
3. สื่อกลาง
หรือช่องทางการสื่อสาร
เป็นสิ่งที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้โดยสะดวก สายสัญญาณ คลื่นสัญญาณ อุปกรณ์เสริม
4. ข้อมูลข่าวสาร เป็นสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ผู้รับที่อยู่ปลายทางซึ่งอาจเป็นเสียง ข้อความหรือภาพ เพื่อสื่อสารให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
วิธีการถ่ายโอนข้อมูลเป็นวิธีส่งสัญญาณออกจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลและการรับสัญญาณด้วยอุปกรณ์รับข้อมูล
มีการถ่ายโอนอยู่ 2วิธี
ดังนี้
1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน เป็นการส่งข้อมูลออกที่ละ 1ไบต์
หรือ 8บิต
จากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูล ดังนี้
สื่อกลางหรือสายสัญญาณระหว่างอุปกรณ์ส่งข้อมูลและอุปกรณ์รับข้อมูล
จึงต้องมีช่องทางอย่างน้อง 8ช่องทางขนาน
กันเพื่อให้สัญญาณไฟฟ้าผ่านไปได้ และระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุตเพราะอาจจะทำให้เกิดปัญหาเนื่องจากความต้านทานของสาย
เนื่องจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากกระไฟฟ้าสายดินส่งคลื่นไปก่อกวนการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆทำให้ผู้รับสัญญาณที่ผิดพลาดได้
2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
เป็นการส่งข้อมูลออกไปทีละ 1บิต
ระหว่างอุปกรณ์ส่งและอุปกรณ์รับข้อมูลดังนั้น มีช่องทางการเดินของข้อมูลมีเพียง 1ช่องทาง
สำหรับการส่งแบบไกลๆจะมีการส่งช้ากว่าแบบขนาน
การถ่าน
ชยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มด้วยข้อมูลจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลจะถูกเปลี่ยนให้
เป็นสัญญาณอนุกรมเสียก่อนแล้วค่อยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังอุปกรณ์รับข้อมูล
และอุปกรณ์รับข้อมูลจะมีกลไกในการเปลี่ยนข้อมูลที่ส่งมาทีละบิตให้เป็น
สัญญาณแบบขนาน
การติดต่อแบบอนุกรมอาจจะแบ่งตามรูปแบบการรับ-ส่ง ได้ 3
แบบ
คือ
1. สื่อสารทางเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทางเดียวเท่านั้น
บางครั้งก็เรียกว่าการส่งทิศทางเดียว (unidirectional data bus)
2. สื่อสารกึ่งสองทิศทาง (half duplex) ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองสถานี
แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้
3. แบบสองทิศทาง (full duplex) ทั้งสองสถานีสามารถรับและส่งได้ในเวลาเดียวกัน
ประเภทของสัญญาณ จำแนกได้ 2 ลักษณะ
1. สัญญาณดิจิตอล ( Digital signal) เป็น
สัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง โดยรูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลง ที่ไม่ปะติดปะต่อกัน
อัตราการส่งข้อมูลมีหน่วยเป็น bps หรือ Bit Per Second
2. สัญญาณอนาล๊อก ( Analog signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง
ที่มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์(Sine Wave) โดยหน่วยวัดสัญญาณแบบนี้คือ เฮิรตซ์(Hertz)
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางหรือตัวกลางเป็นส่วนที่ทําให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางจากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท
แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สามารถนําผ่านไปได้ใน ณ
ขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งขึ้นอยู่กับแบนด์วิดท์(Bandwidth) ของสื่อกลางแต่ละประเภท ลักษณะของสื่อกลางต่างๆ
มีดังต่อไปนี้
สื่อกลางประเภทมีสาย
1.สายคู่บิดเกลียว (twisted
pair cable) สายคู่บิดเกลียวแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
- สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded
Twisted Pair : STP)
- สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded
Twisted Pair : UTP)
2. สายโคแอกเซียล (coaxial cable) สายโคแอกเซียลแบ่งเป็น 2
ประเภทคือ
- สายโคแอกเซียลแบบบาง ( Thin coaxial cable )
- สายโคแอกเซียลแบบหนา ( Thick coaxial
cable )
3. เส้นใยนำแสง (Fiber Optic Cable)
สื่อกลางประเภทไร้สาย
1. แบบ Directional แบบกำหนดทิศทางด้วยการโฟกัสคลื่นนั้น ๆ
2. แบบ Omnidirectional แบบกระจายสัญญาณรอบทิศทางในอากาศ
คลื่นวิทยุ ( Radio Frequency : RF ) อินฟราเรด (Infrared ) บลูทูธ (Bluetooth )
ไมโครเวฟ (Microwave) ดาวเทียม (Satellite) Wireless
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง
และสามารถ สื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่า ร่วมกันได้ ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์จำแนกตามระยะทางการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์การสื่อสาร
3 ประเภทดังนี้
1.Location Area Network :LAN ระบบเครือข่ายระยะใกล้หรือท้องถิ่น โดยทั่วไปจะมีระยะการไม่เกิน 10 กิโลเมตร
2.Metropolitan Area Network :MAN ระบบเครือข่ายเมือง ระยะทางไม่เกิน 60 กิโลเมตร
3.Wide Area Network :WAN ระบบเครือข่ายระยะไกล
บทที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ( Internet Network Connection )
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล
(Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน
จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User
name) และรหัสผ่าน(Password) ผู้
ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ของ
ผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเตอร์เน็ตได้
องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล
1. โทรศัพท์
2. เครื่องคอมพิวเตอร์
3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
4. โมเด็ม (Modem)
องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล
1. โทรศัพท์
2. เครื่องคอมพิวเตอร์
3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
4. โมเด็ม (Modem)
2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection)การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วยงานต่างๆ
ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local
Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตตลอดเวลา
ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น
บุคลากรในหน่วยงานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบ
LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile
Internet)
1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมีราคาแพง
2. GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เพียง56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุนการส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย
4. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ที่อยู่ในย่านความถี่ระหว่าง 2.4 – 2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สายบลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พ็อคเก็ตพีซี
1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมีราคาแพง
2. GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เพียง56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุนการส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย
4. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ที่อยู่ในย่านความถี่ระหว่าง 2.4 – 2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สายบลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พ็อคเก็ตพีซี
3. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตด้วยโน้ตบุ๊ก(Note book) และ
เครื่องปาล์ม (Palm)oผ่าน โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุนระบบ GPRS โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุน
GPRS จะทำหน้าที่เสมือนเป็นโมเด็มให้กับอุปกรณ์ที่นำมาพ่วงต่อ ไม่ว่าจะเป็น
Note Book หรือ Palm และในปัจจุบันบริษัทที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้มีการผลิต SIM
card ที่เป็น Internet SIM สำหรับโทรศัพท์มือถือเพื่อให้สามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
บทที่ 7 เว็บแอพพลิเคชั่นเว็บแอปพลิเคชัน (web application) คือโปรแกรมประยุกต์ที่เข้าถึงด้วยโปรแกรมค้นดูเว็บผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต
search engine เสิร์ชเอนจิน คือ
โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล
กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย.
เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป
จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน
เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย
และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
E-Mail ย่อมาจาก EIectronic-Mail คือ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้รับส่งกันโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(สำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกคือ Internet การใช้งานก็เหมือนกับเราพิมพ์ข้อความในโปรแกรม word
จากนั้นก็คลิกคำสั่ง
เพื่อส่งออกไป โดยจะมีชื่อของผู้รับ ซึ่งเราเรียกว่า E-mail Address เป็นหลักในการรับส่ง
แต่ถ้าในกรณีที่เป็นการส่งอีเมล หรือข้อความโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับ
เราเรียกว่า Spam และเรียก อีเมลนั้นว่าเป็น spam mail
ประโยชน์ของ E-Mail
1.รวดเร็ว เชื่อถือได้
2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง และลดการใช้กระดาษ
3.ลดเวลาในการส่งเอกสารลง เพราะผู้ส่งไม่ต้องเสียเวลาไปส่งเอง หรือรอไปรษณีย์ไปส่งให้
4.ผู้ส่งสามารถส่งเอกสารได้ตลอดไม่จำกัดเวลา หรือระยะทางในการส่ง ในขณะที่ผู้อ่านก็สามารถเปิดอ่านเอกสารได้ตลอดเวลาเช่นเดียวกัน
5.สามารถส่งต่อกันได้สะดวก และผู้ส่งสามารถส่งให้ผู้รับได้พร้อมๆกันหลายคนในเวลาเดียวกัน
ประโยชน์ของ E-Mail
1.รวดเร็ว เชื่อถือได้
2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง และลดการใช้กระดาษ
3.ลดเวลาในการส่งเอกสารลง เพราะผู้ส่งไม่ต้องเสียเวลาไปส่งเอง หรือรอไปรษณีย์ไปส่งให้
4.ผู้ส่งสามารถส่งเอกสารได้ตลอดไม่จำกัดเวลา หรือระยะทางในการส่ง ในขณะที่ผู้อ่านก็สามารถเปิดอ่านเอกสารได้ตลอดเวลาเช่นเดียวกัน
5.สามารถส่งต่อกันได้สะดวก และผู้ส่งสามารถส่งให้ผู้รับได้พร้อมๆกันหลายคนในเวลาเดียวกัน
บทที่ 8 เครือข่ายสังคม ออนไลน์
(Social Network)
เครือข่ายสังคมออนไลน์
หมายถึง
สังคมออนไลน์ที่มีการเชื่อมโยงกันเพื่อสร้างเครือข่ายในการตอบสนองความต้อง
การทางสังคมที่มุ่งเน้นในการสร้างและสะท้อนให้เห็นถึงเครือข่าย
หรือความสัมพันธ์ทางสังคม ในกลุ่มคนที่มีความสนใจหรือมีกิจกรรมร่วมกัน
บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จะให้บริการผ่านหน้าเว็บ
และให้มีการตอบโต้กันระหว่างผู้ ใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของเครือข่ายสังคมออนไลน์
การเกิดขึ้นและเติบโตของเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้มาจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตจากเว็บ
1.0 (เว็บเนื้อหา) มาสู่เว็บ 2.0 (เว็บเชิงสังคม) ซึ่งจุดเด่นของเว็บ 2.0 คือ
การที่ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตได้เอง
โดยไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นทีมงานหรือผู้ดูแลเว็บไซต์ ซึ่งเรียกว่า User
Generate Content ข้อดีของการที่ผู้ใช้เข้ามาสร้างเนื้อหาได้เอง
ทำให้มีการผลิตเนื้อหาเข้ามาเป็นจำนวนมาก และมีความหลากหลายของมุมมองความคิด
เพราะจากเดิมผู้ดูแลจะเป็นคนคิดและหาเนื้อหามาลงแต่เพียงกลุ่มเดียว
ประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถแบ่งได้ 6ประเภท
- ประเภทแหล่งข้อมูลหรือความรู้
- ประเภทเกมส์ออนไลน์
- ประเภทสร้างเครือข่ายสังคม
- ประเภทฝากภาพ
- ประเภทสื่อ
บทที่ 9 กูเกิ้ลแอพลิเคชั่น
กูเกิ้ลเมล ( http://www.gmail.com )
เป็นบริการหลักที่จะต้องมีหากเราต้องการใช้บริการอย่างอื่นของ กูเกิ้ล
เพราะข้อกำหนดหลักของกูเกิ้ลคือ
จะต้องใช้อีเมลของกูเกิ้ลในการเข้าใช้บริการอื่น ๆ ทั้งหมด
แผนที่ (Google Maps)
เป็นเว็บไซต์ค้นหาส่วนหนึ่งของกูเกิล โดยเน้นที่การค้นหาบริการ และร้านค้าต่างๆ
โดยการใส่สิ่งที่ต้องการค้นหา เช่น ร้านก๋วยเตี๋ยว หรือ
ธนาคาร และ ใส่สถานที่ ที่ต้องการค้นหาเช่น ดาวน์ทาวน์เมืองนิวยอร์ก หรือ ถนนเสตทในเมืองชิคาโก แล้วกูเกิลแผนที่
จะแสดงผลว่ามีร้านที่ต้องการอยู่จำนวนกี่ร้าน และแสดงตำแหน่งพร้อมเบอร์โทรศัพท์
ปัจจุบันมีให้บริการในเฉพาะสหรัฐอเมริกา เว็บไซต์กูเกิลแผนที่ในปัจจุบันยังคงเป็น ซอฟต์แวร์เบต้า ฐานข้อมูลบางส่วนได้ถูกนำมารวมกับ กูเกิลเอิร์ท
Google
Calendar
เป็นบริการปฏิทินแบบออนไลน์ของ Google ซึ่งทำให้คุณสามารถเก็บข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ รวมไว้ในที่เดียวกันได้
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างกำหนดการนัดหมายและกำหนดเวลาเหตุการณ์ต่างๆ
สามารถส่งข้อความเชิญ สามารถใช้ปฏิทินร่วมกับเพื่อนร่วมงาน และ
ค้นหาเหตุการณ์ต่างๆ ได้
Google Documents หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Google Docs
เป็นบริการออนไลน์ที่ให้คุณสามารถจัดการเอกสารได้แบบไม่ต้องเสียเงิน
เพียงแค่คุณมี
อีเมลของ Gmail และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เพราะ Google
Docs เตรียมมา
ให้คุณหมดแล้วไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์รายงานแบบที่คุ้นเคย
การทําสไลด์เพื่อ
นําเสนองานสําคัญ หรือจะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมือน Excel
ก็สามารถทําได้
Google +
เป็นบริการใหม่ล่าสุดที่กูเกิ้ลจัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อแข่งขันกับสังคมออนไลนือื่น ๆ โดยเฉพาะเฟซบุค
บริการอื่น ๆ ของกูเกิ้ลที่น่าสนใจ
ยูทูป ไซต์ กูเกิ้ลกรุ๊ป สกอลาร์ เป็นต้น
บทที่ 10 ความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์ ผู้
ใช้งานคอมพิวเตอร์ควรมีความรู้และปฏิบัติตามในการรักษาคอมพิวเตอร์
ข้อมูลส่วนตัว ประวัติการท่องอินเทอร์เน็ต เลขบัตรเครดิตและข้อมูลอื่นๆ
ให้ปลอดภัย
โดยผู้ใช้งานควรระมัดระวังในเรื่องของโปรแกรมหรือผู้คนที่ให้ความมั่นใจว่า
สามารถที่จะปกป้องดูแลความปลอดภัยได้ร้อยเปอร์เซ็นต์
เพราะการดูแลรักษาความปลอดภัยนั้นต้องมีทั้งโปรแกรมป้องกันภัยที่ดีและ
ลักษณะพฤติกรรมการใช้งานที่ดีด้วย เช่น
ควรที่จะต้องรู้ว่าสิ่งใดไม่ควรให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ในขณะที่มีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต ใครที่ควรไว้วางใจ
และการรักษาความปลอดภัยอื่นๆที่เทคโนโลยีไม่สามารถตอบโจทย์ได้
ซึ่งผู้ใช้งานควรจะต้องมองหาโปรแกรมที่ตอบโจทย์การใช้งานของตัวผู้ใช้เองมาก
ที่สุดและในขณะเดียวกันต้องสามารถปกป้องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อีกด้วย
แนวทางการรักษาคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย มีดังต่อไปนี้
1. ระบบปฏิบัติการต้องอัพเดตอยู่เสมอ
ผู้ใช้งานต้องคอยหมั่นตรวจสอบดูแลให้ระบบปฏิบัติการ (Operating system) ของคอมพิวเตอร์นั้นทันสมัยอยู่เสมอ
2. บัญชีผู้ใช้และพาสเวิร์ด
คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องควรจะมีบัญชีผู้ใช้ไว้สำหรับทำการล็อกอินเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งบัญชีผู้ใช้จะเปรียบเสมือนปราการด่านแรกในการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวและ ฟังก์ชั่นต่างๆในคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ผู้ใช้งานควรสร้างรหัสผ่านหรือพาสเวิร์ดของทุกๆบัญชีผู้ใช้ด้วยเพื่อให้ยาก ต่อการที่ผู้ใช้งานคนอื่นๆจะสามารถเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งาน
3. การป้องกันทางกายภาพ
ผู้คนมากมายไม่ได้ตระหนักเลยว่าข้อมูลส่วนตัวของตนเองนั้นมีมูลค่ามหาศาล สำหรับบุคคลอื่น หากผู้ใช้งานกำลังกำลังทำงานอยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่ที่ไม่รู้จักคุ้น เคยหรือที่คุณไม่สามารถควบคุมได้ ผู้ใช้งานก็จะต้องคอยดูแลทรัพย์สินเป็นอย่างดีโดยไม่ให้คลาดสายตา ซึ่งคอมพิวเตอร์ก็ใช้หลักการเดียวกัน
4. ใช้โปรแกรมแอนติไวรัส
ถ้า หากผู้ใช้งานใช้โปรแกรมวินโดวส์ของไมโครซอฟต์ ควรใช้โปรแกรมแอนติไวรัสและหมั่นอัพเดตมันอยู่เสมอ เพราะมีโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ชื่อว่ามัลแวร์ ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อขโมยข้อมูลหรือเพื่อใช้คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานในทางที่ ไม่ดี ไวรัสและมัลแวร์เหล่านี้สามารถเข้าถึงระบบ เปลี่ยนแปลงระบบและฝังตัวอยู่ในคอมพิวเตอร์ มันสามารถเข้ามาอยู่ในคอมพิวเตอร์ผ่านทางอีเมล์ เว็บไซต์ที่ผู้ใช้งานเข้าชม หรือมาพร้อมกับไฟล์ที่ผู้ใช้งานไม่คิดว่ามันจะเป็นอันตราย
1. ระบบปฏิบัติการต้องอัพเดตอยู่เสมอ
ผู้ใช้งานต้องคอยหมั่นตรวจสอบดูแลให้ระบบปฏิบัติการ (Operating system) ของคอมพิวเตอร์นั้นทันสมัยอยู่เสมอ
2. บัญชีผู้ใช้และพาสเวิร์ด
คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องควรจะมีบัญชีผู้ใช้ไว้สำหรับทำการล็อกอินเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งบัญชีผู้ใช้จะเปรียบเสมือนปราการด่านแรกในการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวและ ฟังก์ชั่นต่างๆในคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ผู้ใช้งานควรสร้างรหัสผ่านหรือพาสเวิร์ดของทุกๆบัญชีผู้ใช้ด้วยเพื่อให้ยาก ต่อการที่ผู้ใช้งานคนอื่นๆจะสามารถเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งาน
3. การป้องกันทางกายภาพ
ผู้คนมากมายไม่ได้ตระหนักเลยว่าข้อมูลส่วนตัวของตนเองนั้นมีมูลค่ามหาศาล สำหรับบุคคลอื่น หากผู้ใช้งานกำลังกำลังทำงานอยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่ที่ไม่รู้จักคุ้น เคยหรือที่คุณไม่สามารถควบคุมได้ ผู้ใช้งานก็จะต้องคอยดูแลทรัพย์สินเป็นอย่างดีโดยไม่ให้คลาดสายตา ซึ่งคอมพิวเตอร์ก็ใช้หลักการเดียวกัน
4. ใช้โปรแกรมแอนติไวรัส
ถ้า หากผู้ใช้งานใช้โปรแกรมวินโดวส์ของไมโครซอฟต์ ควรใช้โปรแกรมแอนติไวรัสและหมั่นอัพเดตมันอยู่เสมอ เพราะมีโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ชื่อว่ามัลแวร์ ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อขโมยข้อมูลหรือเพื่อใช้คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานในทางที่ ไม่ดี ไวรัสและมัลแวร์เหล่านี้สามารถเข้าถึงระบบ เปลี่ยนแปลงระบบและฝังตัวอยู่ในคอมพิวเตอร์ มันสามารถเข้ามาอยู่ในคอมพิวเตอร์ผ่านทางอีเมล์ เว็บไซต์ที่ผู้ใช้งานเข้าชม หรือมาพร้อมกับไฟล์ที่ผู้ใช้งานไม่คิดว่ามันจะเป็นอันตราย
5. อุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายนอกและอุปกรณ์บันทึกข้อมูลขนาดพกพา
ผู้ ใช้ควรระมัดระวังในการเสียบแฟลชไดร์ฟเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือให้บุคคล อื่นยืมไปใช้ ซึ่งบริษัทไมโครซอฟต์เองก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายเกี่ยวกับการที่ คอมพิวเตอร์มีการตั้งค่าให้เปิดแฟลชไดร์ฟเองโดยอัติโนมัติ ซึ่งนั่นทำให้วินโดวส์มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ดี ผู้ใช้ก็ไม่ควรที่จะเปิดไฟล์ที่ตนเองไม่รู้จักหรือไม่น่าไว้วางใจ
6. เลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่น่าเชื่อถือและซอฟต์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส
ผู้ ใช้ควรเลือกใช้โปรแกรมจากผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายที่มีความน่าเชื่อถือ หรือเลือกใช้โปรแกรมแบบโอเพ่นซอร์ส (Open source software) คือซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่มีไลเซนส์แบบโอเพ่นซอร์สเพราะซอฟต์แวร์ที่ละเมิด ลิขสิทธิ์ส่วนมากมักมีไวรัสติดมาด้วย
7. การทำลายข้อมูลในคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย
ข้อมูล ต่างๆ ที่ผู้ใช้ลบด้วยวิธีการลบแบบเบื้องต้นอาจไม่เพียงพอหากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูล ที่เป็นความลับสำคัญหรือเป็นข้อมูลที่ไม่อยากเปิดเผยให้ใครรู้ เพราะข้อมูลที่ถูกลบไปแล้วนั้น ยังสามารถกู้กลับมาได้ใหม่อีกครั้งหากไม่ใช้วิธีการลบขั้นสูงหรือใช้โปรแกรม ที่ช่วยในการลบข้อมูลโดยสมบูรณ์ ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงควรมีโปรแกรมช่วยลบติดคอมพิวเตอร์ไว้สักหนึ่งตัวหากต้องการลบ ไฟล์ข้อมูลที่สำคัญหรือเป็นความลับ
ผู้ ใช้ควรระมัดระวังในการเสียบแฟลชไดร์ฟเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือให้บุคคล อื่นยืมไปใช้ ซึ่งบริษัทไมโครซอฟต์เองก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายเกี่ยวกับการที่ คอมพิวเตอร์มีการตั้งค่าให้เปิดแฟลชไดร์ฟเองโดยอัติโนมัติ ซึ่งนั่นทำให้วินโดวส์มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ดี ผู้ใช้ก็ไม่ควรที่จะเปิดไฟล์ที่ตนเองไม่รู้จักหรือไม่น่าไว้วางใจ
6. เลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่น่าเชื่อถือและซอฟต์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส
ผู้ ใช้ควรเลือกใช้โปรแกรมจากผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายที่มีความน่าเชื่อถือ หรือเลือกใช้โปรแกรมแบบโอเพ่นซอร์ส (Open source software) คือซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ที่มีไลเซนส์แบบโอเพ่นซอร์สเพราะซอฟต์แวร์ที่ละเมิด ลิขสิทธิ์ส่วนมากมักมีไวรัสติดมาด้วย
7. การทำลายข้อมูลในคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัย
ข้อมูล ต่างๆ ที่ผู้ใช้ลบด้วยวิธีการลบแบบเบื้องต้นอาจไม่เพียงพอหากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูล ที่เป็นความลับสำคัญหรือเป็นข้อมูลที่ไม่อยากเปิดเผยให้ใครรู้ เพราะข้อมูลที่ถูกลบไปแล้วนั้น ยังสามารถกู้กลับมาได้ใหม่อีกครั้งหากไม่ใช้วิธีการลบขั้นสูงหรือใช้โปรแกรม ที่ช่วยในการลบข้อมูลโดยสมบูรณ์ ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงควรมีโปรแกรมช่วยลบติดคอมพิวเตอร์ไว้สักหนึ่งตัวหากต้องการลบ ไฟล์ข้อมูลที่สำคัญหรือเป็นความลับ
บทที่ 11 การยศาสตร์ ( Ergonomics )
การยศาสตร์
เป็นเรื่องการศึกษาสภาพการทำงานที่มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม
การทำงานเป็นการพิจารณาว่าสถานที่ทำงานดังกล่าว
ได้มีการออกแบบหรือปรับปรุงให้มีความเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงานอย่างไร
เพื่อป้องกันปัญหาต่าง ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทำงาน
และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้ด้วย หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า
เพื่อทำให้งานที่ต้องปฏิบัติดังกล่าว มีความเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน
แทนที่จะบังคับให้ผู้ปฏิบัติงานต้องทนฝืนปฏิบัติงานนั้น ๆ ตัวอย่างง่าย ๆ
ตัวอย่างหนึ่งได้แก่การเพิ่มระดับความสูงของโต๊ะทำงานให้สูงขึ้น
เพื่อพนักงานจะได้ไม่ต้องก้มโน้มตัวเข้าใกล้ชิ้นงาน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการยศาสตร์
หรือ นักการยศาสตร์ ( Ergonomist ) จึงเป็นผู้ที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
สถานที่ทำงาน และการออกแบบงานในการนำการยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในสถานที่ทำงานนั้น
ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ที่สามารถเห็นได้อย่างเด่นชัดมากมาย อาทิ
ทำให้พนักงานมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น และสภาพการทำงานมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ส่วนนายจ้างก็จะได้รับประโยชน์อย่างเด่นชัดจากผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น
การยศาสตร์ จึงเป็นแขนงวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมกว้างขวาง โดยได้รวมเนื้อหาวิชาหลาย ๆ สาขาที่เกี่ยวกับสภาพการทำงานที่สามารถทำให้พนักงานมีความสะดวกสบายและมีสุขภาพอนามัยดี รวมไปถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แสงสว่าง เสียงดัง อุณหภูมิ ความสั่นสะเทือน การออกแบบหน่วยที่ทำงาน การออกแบบเครื่องมือ การออกแบบเครื่องจักร การออกแบบเก้าอี้ และการออกแบบงาน การยศาสตร์เป็นเรื่องของการประยุกต์ใช้หลักการทางด้านชีววิทยา จิตวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยา เพื่อขจัดสิ่งที่อาจเป็นสาเหตุทำให้พนักงานเกิดความไม่สะดวกสบาย ปวดเมื่อย หรือมีสุขภาพอนามัยที่ไม่ดี เนื่องจากการทำงานในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การยศาสตร์จึงสามารถนำไปใช้ในการป้องกันมิให้มีการออกแบบงานที่ไม่เหมาะสมที่อาจเกิดมีขึ้นในสถานที่ทำงาน โดยให้มีการนำการยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบงาน เครื่องมือ หรือหน่วยที่ทำงาน ดังตัวอย่าง พนักงานที่ต้องใช้เครื่องมือในการทำงาน ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายต่อระบบกล้ามเนื้อ-กระดูกจะสามารถลดลงได้ ถ้าพนักงานใช้เครื่องมือที่ได้มีการออกแบบอย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักการยศาสตร์ตั้งแต่เริ่มแรก
การยศาสตร์ จึงเป็นแขนงวิชาที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมกว้างขวาง โดยได้รวมเนื้อหาวิชาหลาย ๆ สาขาที่เกี่ยวกับสภาพการทำงานที่สามารถทำให้พนักงานมีความสะดวกสบายและมีสุขภาพอนามัยดี รวมไปถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แสงสว่าง เสียงดัง อุณหภูมิ ความสั่นสะเทือน การออกแบบหน่วยที่ทำงาน การออกแบบเครื่องมือ การออกแบบเครื่องจักร การออกแบบเก้าอี้ และการออกแบบงาน การยศาสตร์เป็นเรื่องของการประยุกต์ใช้หลักการทางด้านชีววิทยา จิตวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยา เพื่อขจัดสิ่งที่อาจเป็นสาเหตุทำให้พนักงานเกิดความไม่สะดวกสบาย ปวดเมื่อย หรือมีสุขภาพอนามัยที่ไม่ดี เนื่องจากการทำงานในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การยศาสตร์จึงสามารถนำไปใช้ในการป้องกันมิให้มีการออกแบบงานที่ไม่เหมาะสมที่อาจเกิดมีขึ้นในสถานที่ทำงาน โดยให้มีการนำการยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบงาน เครื่องมือ หรือหน่วยที่ทำงาน ดังตัวอย่าง พนักงานที่ต้องใช้เครื่องมือในการทำงาน ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายต่อระบบกล้ามเนื้อ-กระดูกจะสามารถลดลงได้ ถ้าพนักงานใช้เครื่องมือที่ได้มีการออกแบบอย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักการยศาสตร์ตั้งแต่เริ่มแรก